ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
ภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy Program in Educational Administration
ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็มภาษาไทย : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
ชื่อย่อภาษาไทย : ปร.ด. (การบริหารการศึกษา)
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy (Educational Administration)
ชื่อย่อภาษาอังกฤษ : Ph.D. (Educational Administration)
รู้จักหลักสูตร
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา เป็นหลักสูตรที่มุ่งผลิตและพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษาให้เป็น “ผู้บริหารมืออาชีพ” ที่มีความรู้รอบและรู้ลึกในหลักการบริหารการศึกษา มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีวิสัยทัศน์ เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง และสามารถใช้ทักษะการวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางการบริหารการศึกษา มีภาวะผู้นำที่มีคุณธรรมจริยธรรม มีทักษะในการสื่อสาร การพัฒนานวัตกรรม มีวิสัยทัศน์ ก้าวทันการเปลี่ยนแปลง และสามารถประยุกต์ใช้การวิจัยในการบริหารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จุดเด่นของหลักสูตร
1. ได้รับการรับรองจากคุรุสภา (ใบประกอบวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษา)
2. เรียนกับวิทยากรระดับชาติและนานาชาติ และผู้บริหารหน่วยงานทางการศึกษา
3. ดูแลโดยคณาจารย์มืออาชีพ
4. ผลิตดุษฎีบัณฑิต นักวิชาการ และนักวิชาชีพที่มีความเชี่ยวชาญในการบริหารการศึกษา
5. ผลิตดุษฎีเป็น “ผู้บริหารมืออาชีพ” ที่สามารถ วิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้ใหม่ทางการบริหารการศึกษาไปประยุกต์ใช้ในหน่วยงานอย่างมีประสิทธิภาพ
6. สร้างคุณเป็นนักบริหารการศึกษา ที่พร้อมก้าวทันกับการเปลี่ยนแปลงทั้งทางเทคโนโลยีการบริหารจัดการและการปฏิรูปการศึกษา
7. สร้างองค์ความรู้ใหม่ทางการบริหารการศึกษาโดยการเรียนรู้ผ่าน Case Study
8. เน้นการแลกเปลี่ยนประสบการณ์จริงกับผู้เชี่ยวชาญในวิชาชีพ สร้างมืออาชีพด้วยมืออาชีพด้วยการเรียนกับผู้บริหาร จากองค์กรที่มีชื่อเสียง
9. มีการศึกษาดูงานต่างประเทศ
ระยะเวลาในการศึกษา
ใช้เวลาในการศึกษา 3 ปี โดยแบ่งเป็น 9 ภาคการศึกษา
ระยะเวลาในการศึกษา
ภาคเสาร์ – อาทิตย์ (เวลา 09.00 – 17.30 น.)
คณาจารยมืออาชีพ
คณาจารย์วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาด้านการจัดการ มหาวิทยาลัยศรีปทุม
รองศาสตราจารย์ ดร.สุบิน ยุระรัช
– ผู้อำนวยการศูนย์ส่งเสริมและพัฒนางานวิจัย
– อาจารย์ประจำหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
– อาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
วุฒิการศึกษา :
– ค.ด. (การวัดและประเมินผลการศึกษา), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 (โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก), 2550
– ค.บ. (การศึกษาปฐมวัย) เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง เหรียญทอง, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 (โครงการคุรุทายาท), 2543
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เกรียงไกร สัจจะหฤทัย
– อาจารย์สำนักงานรองอธิการบดี (ผศ.ดร.วิรัช เลิศไพฑูรย์พันธ์)
– รักษาการหัวหน้าสาขาวิชาสหวิทยาการ เทคโนโลยี และนวัตกรรม คณะสหวิทยาการ เทคโนโลยี และนวัตกรรม
– อาจารย์ประจำหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
– อาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
วุฒิการศึกษา :
– ปร.ด. (บริหารการศึกษา), มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2557
– บธ.ม. (พานิชย์อิเล็กทรอนิคส์), มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2552
– บธ.บ. (การจัดการ), มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2549
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วราภรณ์ ไทยมา
– คณบดีคณะศิลปศาสตร์
– อาจารย์ประจำหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
– อาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
วุฒิการศึกษา :
– Ed.D. (Administrative & Policy Studies), University of Pittsburgh, U.S.A., 2000
– M.S. (Business Education), New Hampshire College, U.S.A., 1993
– ค.บ. (ภาษาอังกฤษ) วิทยาลัยครูสวนสุนันทา, 2525
ดร.เชิดศักดิ์ ศรีสง่าชัย
– อาจารย์ประจำหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
– อาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
วุฒิการศึกษา
ปร.ด. (การบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย 2554
ศษ.ม. (การวัดและประเมินผลการศึกษา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2532
กศ.บ. (คณิตศาสตร์) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2525
ประสบการณ์การทำงาน
2522 ครู 2 ระดับ 2 โรงเรียนบ้านป่าปอ อำเภอบ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น
2530 ครูใหญ่ โรงเรียนบ้านวังแคน อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น
2532 ครูใหญ่ โรงเรียนบ้านหนองเจ้าเมือง อำเภอบ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น
2535 อาจารย์ใหญ่ โรงเรียนบ้านวังยาวสามัคคี อำเภอบ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น (ปัจจุบันอำเภอโนนศิลา)
2537 ผู้ช่วยหัวหน้าการประถมศึกษาอำเภอทับปุด จังหวัดพังงา
2540 ผู้ช่วยหัวหน้าการประถมศึกษาอำเภอแวงใหญ่ จังหวัดขอนแก่น
2541 หัวหน้าการประถมศึกษาอำเภอภูมิรัต จังหวัดสงขลา
2542 หัวหน้าการประถมศึกษาอำเภอน้ำหนาว จังหวัดเพชรบูรณ์
2543 หัวหน้าการประถมศึกษาอำเภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์
2544 หัวหน้าการประถมศึกษาอำเภอเปือยน้อยและอำเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น
2545 ผู้ช่วยผู้อำนวยการประถมศึกษาจังหวัดตาก
2546 รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาขอนแก่น เขต 3
2552 ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2
2559 ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 1
2560 ศึกษาธิการจังหวัดขอนแก่น
2561 เกษียณอายุราชการ 30 กันยายน 2561
ดร.นวรัตน์ แซ่โค้ว
– อาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
โทร.: 0 2579 1111 ต่อ 2208 อีเมล์: navarat@spu.ac.th, tanjai.pa@,sn.com
วุฒิการศึกษา
ปริญญาเอก : เทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ปริญญาโท: เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี
ปริญญาตรี: เทคโนโลยีสารสนเทศมหาวิทยาลัยรังสิต
ประกาศนียบัตร: Oracle SQL Certification, 2005 Oracle
ดร.สุภัทร พันธ์พัฒนกุล
– อาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
วุฒิการศึกษา
ปร.ด. (บริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยศรีปทุม 2555
ร.ม. (การปกครอง) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2537
น.บ. (นิติศาสตร์) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2525
กศ.บ. (คณิตศาสตร์) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2520
ประสบการณ์ทำงาน
หัวหน้าฝ่ายการเจ้าหน้าที่ สำนักงานการประถมศึกษา จังหวัดพะเยา
หัวหน้าฝ่ายวินัยและนิติกร สำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดพะเยา
หัวหน้าฝ่ายพัฒนาบุคคล สำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดเชียงใหม่,แพร่
ผู้อำนวยการส่วนพัฒนาบุคคล สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ (สปช.)
ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)
ผู้อำนวยการสำนักพัฒนากิจกรรมนักเรียน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)
หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)
ดร.สุพรรณี สมานญาติ
– อาจารย์ประจำหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
– อาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
วุฒิการศึกษา :
– กศ.ด. (การบริหารการศึกษา), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2540
– ศศ.ม. (การสอนคณิตศาสตร์),มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2523
– กศ.บ. (คณิตศาสตร์-ภาษาอังกฤษ), วิทยาลัยวิชาการศึกษาบางแสน, 2513
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สิรินธร สินจินดาวงศ์
– ผู้อำนวยการศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน
– รักษาการผู้อำนวยการหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการเรียนรู้และการสอน คณะสหวิทยาการ เทคโนโลยี และนวัตกรรม
– อาจารย์ประจำหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
– อาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
วุฒิการศึกษา :
– ค.ด. (การวัดและประเมินผลการศึกษา), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553
– กศ.ม. (การวัดผลการศึกษา), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร, 2543
– ค.บ. (วิทยาศาสตร์ทั่วไป), วิทยาลัยครูพระนครศรีอยุธยา, 2537
ดร.เสน่ห์ คำสมหมาย
– อาจารย์ประจำหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
– อาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
วุฒิการศึกษา
ค.ด. (การบริหารและจัดการการศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 2555
กศ.ม. (การบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 2539
น.บ. (นิติศาสตร์) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2530
ค.บ. (เกษตรศาสตร์) วิทยาลัยครูมหาสารคาม 2524
ประสบการณ์การทำงาน
– อาจารย์ 1 โรงเรียนสหัสขันธ์วิทยาคาร จังหวัดกาฬสินธุ์
– ผู้อำนวยการโรงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสรรพ์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24
– เป็นคณะอนุกรรมการ (ผู้แทนผู้บริหารสถานศึกษา) อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษากาฬสินธุ์ เขต 1
– ประธานคณะกรรมการดำเนินงานศูนย์ประสานงานการจัดการมัธยมศึกษา ศูนย์ที่ 23
จังหวัดกาฬสินธุ์
– ปฏิบัติหน้าที่ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 ตามคำสั่ง
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ 1155/2553 สั่ง ณ วันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2553
– เลขานุการสมาคมนักการศึกษามหาสารคาม
– เป็นคณะอนุกรรมการ (ผู้แทนผู้บริหารสถานศึกษา) อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษา เขต 24
– นายกสมาคมผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ์
– ประธานเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการมัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดกาฬสินธุ์
ดร.วิรัช เจริญเชื้อ
– อาจารย์ประจำหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
– อาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
วุฒิการศึกษา
ปร.ด. (การบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2552
ศษ.ม. (การบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2538
ค.บ. (พลศึกษา) วิทยาลัยครูเลย 2526
ประสบการณ์การทำงาน
2523 ครู 2 ระดับ 2 โรงเรียนหนองสองห้องวิทยา
2527 อาจารย์ 1 โรงเรียนเขาสวนกวางวิทยานุกูล
2535 ครูใหญ่-อาจารย์ใหญ่ โรงเรียนนางิ้ววิทยาสรรค์
2539 ผู้อำนวยการโรงเรียนอุบลรัตน์พิทยาคม
2543 ผู้อำนวยการโรงเรียนศรีกระนวนวิทยาคม
2551 ผู้อำนวยการโรงเรียนแก่นนครวิทยาลัย
ผู้ช่วยศาสตร์จารย์ ดร.จักรพันธุ์ จันทร์เจริญ
– อาจารย์ประจำหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
– อาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
วุฒิการศึกษา
ค.ด. (บริหารจัดการการศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 2558
กศ.ม. (บริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2551
วท.บ. (วิทยาการคอมพิวเตอร์) มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด 2549
ข้อมูลติดต่อ โทร 043-224111 อีเมล์: chakkaphan.ch@spu.ac.th
ดร.จิรายุ ศรีสง่าชัย
– อาจารย์ประจำหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
– อาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
วุฒิการศึกษา
ค.ด. (การบริหารจัดการการศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 2561
ศษ.ม. (การบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2557
ค.อ. (เทคนิคช่างยนต์) วิทยาลัยเทคนิคมหาสารคาม 2554
ประสบการณ์ทำงาน
ผู้ช่วยคณบดีคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
ผู้ช่วยกรรมการประจำคณะครุศาสตร์ราชภัฏมหาสารคาม
คณาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิ หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
1.ศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน
2.รองศาสตราจารย์ ดร.อรรณพ จีนะวัฒน์
3.รองศาสตราจารย์ ชารี มณีศรี
4.รองศาสตราจารย์ ดร.สุธรรม ธรรมทัศนานนท์
5.รองศาสตราจารย์ ดร.สมเจตน์ ภูศรี
6.รองศาสตราจารย์ ดร.สุบิน ยุระรัช
7.รองศาสตราจารย์ ดร.ศิริ ถีอาสนา
8.ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วราภรณ์ ไทยมา
9.ดร.สุพรรณี สมานญาติ
10.ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เกรียงไกร สัจจะหฤทัย
11.ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จักรพันธุ์ จันทร์เจริญ
12.ดร.วีระเดช ซาตา
13.ดร.ยุทธศาสตร์ กงเพชร
14.ดร.เชิดศักดิ์ ศรีสง่าชัย
15.ดร.วิรัช เจริญเชื้อ
16.ว่าที่ร้อยตรี ดร.ธนุ วงษ์จินดา
17.ดร.สุภชัย จันปุ่ม
18.ดร.เสน่ห์ คำสมหมาย
19.ดร.อดิศักดิ์ มุ่งชู
20.ดร.อุดมชัย ชัยจุฑาภัค
21.ดร.อดุลย์ พิมพ์ทอง
22.ดร.สุรชัย วัฒนาอุดมชัย
23.ดร.พิทักษ์ พลคชา
24.ดร.ธีรพงษ์ แสงสิทธิ์
25.ดร.กรรณิกา ยอดสง่า
26.ดร.ภูมิพัทธ เรืองแหล่
โครงสร้างหลักสูตร
โครงสร้างหลักสูตร
แบ่งเป็น 2 แผน คือ
แบบ 1.1 เป็นการเรียนแบบทำเฉพาะวิทยานิพนธ์
ผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จวุฒิปริญญาโท ต้องทำวิทยานิพนธ์ 60 หน่วยกิต
แบบ 2.1 เป็นการเรียน รายวิชาและทำวิทยานิพนธ์
ผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จวุฒิปริญญาโท ต้องทำวิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต และศึกษารายวิชา 24 หน่วยกิต รายละเอียดในแต่ละแผนการศึกษา มีดังนี้
โครงสร้างหลักสูตร |
แบบ 1.1 |
แบบ 2.1 |
หมวดวิชาเสริมพื้นฐาน | ไม่นับหน่วยกิต |
ไม่นับหน่วยกิต |
หมวดวิชาบังคับ | - |
18 |
หมวดวิชาเลือก | - |
6 |
วิทยานิพนธ์ | 60 |
36 |
รวม |
60 |
60 |
หมายเหตุ: วิชาเสริมพื้นฐานไม่นับหน่วยกิต สำหรับผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรมีมติให้เรียนรายวิชาเสริมพื้นฐานเพิ่มเติมจะต้องลงทะเบียนเรียนและมีผลการเรียนไม่ต่ำกว่าระดับ S (Satisfactory)
- รายวิชาที่เปิดสอน
หมวดวิชาเสริมพื้นฐาน (Remedial Courses)
หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
หน่วยกิต |
EDA601 |
หลักและระบบการบริหารการศึกษาไทย (Principle and Foundation of Thai Educational Administration) |
ไม่นับหน่วยกิต |
EDA602 |
หลักสูตร การสอน การวัดและประเมินผลการศึกษา (Curriculum Teaching Educational Measurement and Evaluation) |
ไม่นับหน่วยกิต |
หมวดวิชาบังคับ (Required Course) (18 หน่วยกิต)
หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
หน่วยกิต |
EDA711 |
การบริหารการศึกษาเชิงเปรียบเทียบ (Comparative Educational Administration) |
3(3-0-9) |
EDA715 |
สัมมนาวิจัยทางการบริหารการศึกษา (Research Seminar in Educational Administration) |
3(3-0-9) |
EDA716 |
ฝึกปฏิบัติการบริหารสถานศึกษาและการบริหารการศึกษา (Practices in Administration of Educational Institutions and Education) |
3 (90) |
EDA717 |
ผู้นำทางการบริหารการศึกษายุคใหม่ (Leader in Modern Educational Administration) |
3 (3-0-9) |
EDA718 |
การวิจัยเพื่อนักบริหารการศึกษา (Research Methodology for Educational Administrators) |
3 (3-0-9) |
EDA719 |
สถิติขั้นสูงสำหรับนักบริหารการศึกษา (Advanced Statistics for Educational Administrators) |
3 (3-0-9) |
EDA722 |
แนวโน้มและทิศทางการบริหารการศึกษา (Treands and Direction for Educational Administration) |
3 (3-0-9) |
หมวดวิชาเลือก (Electives)
สำหรับนักศึกษาที่เลือกเรียน แบบ 2.1. ให้เลือกเรียน 6 หน่วยกิต
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
หน่วยกิต |
BUS702 |
ทฤษฎีการจัดการการตลาดเชิงกลยุทธ์ขั้นสูงและแนวคิดเชิงปฏิบัติ (Advanced Theories of Strategic Marketing Management) |
3(3-0-9) |
BUS705 |
ทฤษฎีองค์การและการจัดการทรัพยากรมนุษย์สำหรับองค์การที่แสวงหากำไรและไม่แสวงหากำไร และแนวคิดเชิงปฏิบัติ (Organization Theories and Human Resource Management for Profit and Non-Profit Organization and Practice) |
3(3-0-9) |
EDA731 |
การพัฒนาคุณภาพองค์กรสู่สากล (Organizational Quality Development to Internationalization) |
3(3-0-9) |
EDA732 |
นวัตกรรมการบริหารการศึกษา (Inovations in Educational Administration) |
3(3-0-9) |
EDA733 |
การพัฒนาศูนย์เรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Development of Participatory Learning Center) |
3(3-0-9) |
EDA734 |
การบริหารการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (Educational Administration towards Sustainable Development ) |
3(3-0-9) |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
หน่วยกิต |
QEE700 |
การสอบวัดคุณสมบัติข้อเขียน (Written Qualifying Examination) |
ไม่นับหน่วยกิต |
QEE701 |
การสอบวัดคุณสมบัติปากเปล่า (Oral Qualifying Examination) |
ไม่นับหน่วยกิต |
EDA898 |
วิทยานิพนธ์ (Thesis) |
60 หน่วยกิต |
EDA899 |
วิทยานิพนธ์ (Thesis) |
36 หน่วยกิต |
- แผนการศึกษา
แบบ 1.1 |
แบบ 2.1 |
||||
แบบ 1.1 |
ก แบบขอรับอนุญาต |
ข แบบไม่ขอรับอนุญาต |
|||
ชื่อวิชา |
หน่วยกิต |
ชื่อวิชา |
หน่วยกิต |
ชื่อวิชา |
หน่วยกิต |
|
|
วิชาเสริมพื้นฐาน |
ไม่นับหน่วยกิต |
วิชาเสริมพื้นฐาน |
ไม่นับหน่วยกิต |
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 |
ไม่นับหน่วยกิต |
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 |
3(3-0-9) |
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 |
3(3-0-9) |
ปี 1 ภาคการศึกษาที่ 2 |
6 |
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 |
3(3-0-9) |
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 |
3(3-0-9) |
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาฤดูร้อน |
6 |
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาฤดูร้อน |
3(90ชั่วโมง) |
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาฤดูร้อน |
3(3-0-9) |
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 |
6 |
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 |
3(3-0-9) |
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 |
3(3-0-9) |
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 |
6 |
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 |
ไม่นับหน่วยกิต |
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 |
ไม่นับหน่วยกิต |
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาฤดูร้อน |
6 |
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาฤดูร้อน |
6 |
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาฤดูร้อน |
6 |
ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1 |
6 |
ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1 |
6 | >
ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1 |
6 |
ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2 |
6 |
ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2 |
6 | >
ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2 |
6 |
ปีที่ 3 ภาคการศึกษาฤดูร้อน |
6 |
ปีที่ 3 ภาคการศึกษาฤดูร้อน |
6 |
ปีที่ 3 ภาคการศึกษาฤดูร้อน |
6 |
จบที่นี่มีงานทำ
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
We Create Professionals by Professionals สร้างมืออาชีพด้วยมืออาชีพ
มุ่งมั่นผลิตบัณฑิตสู่สายงานอาชีพ อาทิ
1. ผู้บริหารสถานศึกษา
2. ผู้บริหารการศึกษา
3. นักบริหาร (หน่วยงานภาครัฐและเอกชน)
4. นักวิชาการด้านการบริหารการศึกษา
5. นักวิจัยด้านการบริหารการศึกษา
6. อาจารย์มหาวิทยาลัย หรืออาจารย์ผู้สอนในสาขาวิชาการบริหารการศึกษา
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา เป็นหลักสูตรที่มุ่งผลิตและพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษาให้เป็น “ผู้บริหารมืออาชีพ” ที่มีความรู้รอบและรู้ลึกในหลักการบริหารการศึกษา มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีวิสัยทัศน์ เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง และสามารถใช้ทักษะการวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางการบริหารการศึกษา มุ่งผลิตดุษฎีบัณฑิตให้เป็นผู้บริหารการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา นักวิชาการบริหารการศึกษา และนักวิจัยที่มีคุณลักษณะ ดังนี้ี้
1. มีความเป็นผู้นำ และมีความรู้ในหลักการบริหารการศึกษาที่สอดคล้องกับกรอบของการปฏิรูปการบริหารศึกษาในปัจจุบัน ตลอดจนมีประสบการณ์ในการนำความรู้ด้านการบริหารการศึกษาไปปรับใช้ในการทำงาน
2. มีความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีทักษะในการจัดการความรู้ และมีทักษะในการแสวงหาความรู้ในเชิงลึกในระดับประเทศและนานาชาติ โดยใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่เป็นเครื่องมือช่วยบริหารจัดการให้เกิดประสิทธิผลและประสิทธิภาพสูงสุด
3. มีวิสัยทัศน์กว้างไกล ในการบริหารจัดการการศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองที่เปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน
4. มีคุณธรรมและจริยธรรมในการประกอบวิชาชีพผู้บริหาร และสามารถใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการจนทำให้องค์กรมีผลดำเนินงานบรรลุเป้าหมายตามแผน
5. มีความรู้และทักษะในการทำวิจัยในหัวข้อเกี่ยวกับการบริหารการศึกษา การสร้างองค์ความรู้ใหม่ หรือนวัตกรรมทางด้านการบริหารการศึกษา ตลอดจนสามารถนำผลการวิจัยมาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาองค์กรและหน่วยงานที่รับผิดชอบได้
วิธีสมัครเรียน
1.สมัครออนไลน์ http://www.khonkaen.spu.ac.th/spu.register/
2. สมัครด้วยตนเอง โดยเดินทางเข้ามาติดต่อที่มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตขอนแก่น
ศูนย์รับสมัครนักศึกษา
1.มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตขอนแก่น 182/12 หมู่ 4 ถนนศรีจันทร์ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40000 หรือ โทร.082-3010801 , 096-3019607 , 043-224111 , 095-6638594 , 084-2000100
2. LINE@ : @gradspukk
3. Facebook : โท-เอก มหาวิทยาลัยศรีปทุม ขอนแก่น